ธนาคารพาณิชย์คืออะไรพร้อมดูหน้าที่และรายชื่อธนาคารพาณิชย์ในไทย

ธนาคารพาณิชย์ ธนาคารพาณิชย์ คือ อะไร

มาทำความรู้จักกับธนาคารพาณิชย์ กันก่อน ธนาคารพาณิชย์ในประเทศไทยแห่งแรกในประเทศไทย ที่มีประวัติ มายาวนานในต่างประเทศ แต่ในประเทศไทยธนาคารที่ได้รับอนุญาตให้ประกอบการแห่ง แรก คือ ธนาคารฮ่องกงและเซี่ยงไฮ้ ที่เข้ามาก่อตั้งและทำธุรกิจ ในปีพ.ศ. 2431 ถึงสมัยรัชกาลที่ 5 พระเจ้าน้องยาเธอกรมหมื่นมหิศรราชหฤทัย ทีที่ดำรงตำแหน่งเสนาบดีกระทรวงพระคลัง ได้ริเริ่มทดลองดำเนินกิจการธนาคารพาณิชย์ ในชื่อ บุคคลัภย์ ในปี พ.ศ. 2447 ประกอบกิจการธนาคารพาณิชย์อย่างเป็นทางการในปี 2449  ภายใต้ชื่อ แบงก์สยามกัมมาจล ซึ่งปัจจุบัน คือธนาคารไทยพาณิชย์ และต่อมาก็ได้มีธนาคารอื่น ๆ ก็ได้จัดตั้งขึ้น ธนาคารพาณิชย์ คือ  ธุรกิจที่แสวงหากำไร ที่แตกต่างจากธุกิจทั่วไป ธนาคารมีผลิตภัณฑ์ เป็นเงิน และการทำธุรกิจจะต้องได้รับอนุญาตจากกระทรวงการคลัง
และธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารพาณิชย์หน้าที่ คือ การประกอบธุรกิจประเภทรับฝากเงินที่ต้องจ่ายคืนเมื่อมีการทวงถามตามที่กำหนด และนำเงินที่รับฝากไปให้สินเชื่อกับผู้ที่ต้องการเงินทุน ธนาคารพาณิชย์ ให้กู้ยืม ซื้อขายเก็บเงินตามตั๋วเงิน หรือตราสารอื่นๆ และยังมีการซื้อขายเงินตราต่างประเทศ

ธนาคารพาณิชย์มีธนาคารอะไรบ้าง  ธนาคารพาณิชย์

ธนาคารพาณิชย์มีกี่ธนาคาร และมีธนาคารพาณิชย์มีธนาคารอะไรบ้าง สำหรับ Commercial banks ที่จดทะเบียนในประเทศ 18 แห่ง ธนาคารพาณิชย์ ได้แก่ ธนาคารกรุงเทพ จำกัด มหาชน  ธนาคารกรุงไทย ktb จำกัด  มหาชน ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด มหาชน  ธนาคารกสิกรไทย จำกัด มหาชน  ธนาคารทหารไทยธนชาต จำกัด มหาชน  
ธนาคารซีไอเอ็มบี ไทย จำกัด มหาชน  ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด มหาชน  ธนาคารสแตนดาร์ดชาร์เตอร์ด (ไทย) จำกัด มหาชน  ธนาคารยูโอบี จำกัด มหาชน   ธนาคารทิสโก้ จำกัด มหาชน  และ ธนาคารเกียรตินาคินภัทร จำกัด มหาชน  ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำกัด มหาชน  ธนาคารไอซีบีซี (ไทย) จำกัด  มหาชน   ธนาคารไทยเครดิต เพื่อรายย่อย จำกัด มหาชน  ธนาคารเมกะ สากลพาณิชย์ จำกัด มหาชน  รวมถึง ธนาคารพาณิชย์  ธนาคารแห่งประเทศจีน (ไทย) จำกัด มหาชน  ธนาคารเอเอ็นแซด (ไทย) จำกัด มหาชน   ธนาคารซูมิโตโม มิตซุย ทรัสต์ ไทย จำกัด มหาชน   รวม 18 แห่ง คือ ธนาคารพาณิชย์ 

จุดเด่น ธนาคารพาณิชย์

ประเภทสถาบันการเงินธนาคารพาณิชย์ มีจุดเด่น ของการทำ ธุรกิจธนาคาร ให้บริการ และรับ ฝากเงิน แล้วนำไปปล่อยสินเชื่อ ให้กับผู้ที่ต้องการจะกู้ยืม ซึ่งเป็นสถาบันการเงิน และ ธนาคารพาณิชย์ของรัฐ  หน้าที่ของธนาคารพาณิชย์ มี
3 ประเภท  1. การรับฝากและให้กู้ยืม  2. ซื้อขายหรือเก็บเงินตามตั๋วเงิน 3.ซื้อหรือขายเงินตราต่างประเทศ หน้าที่ของธนาคารพาณิชย์  คือ การรับฝากเงินจากประชาชน แล้วนำไปให้สินเชื่อกับผู้ที่ต้องการเงินทุน เพื่อเป็นการช่วยในการสร้างประเทศให้เติบโต  ธนาคารพาณิชย์ ยังมีสาขาธนาคารพาณิชย์ต่างประเทศ อีก 11 แห่ง ได้แก่ ธนาคารเจพีมอร์แกน เชส  ธนาคารโอเวอร์ซี-ไชนีส แบงกิ้งคอร์ปอเรชั่น จำกัด ธนาคารซิตี้แบงก์ ธนาคารอาร์ เอช บี จำกัด  ธนาคารแห่งอเมริกา เนชั่นแนล แอสโซซิเอชั่นธนาคารฮ่องกงและเซี่ยงไฮ้แบงกิ้งคอร์ปอเรชั่น จำกัด  ธนาคารดอยซ์แบงก์  ธนาคารมิซูโฮ จำกัด ธนาคารบีเอ็นพี พารีบาส์   ธนาคารซูมิโตโม มิตซุย แบงกิ้ง คอร์ปอเรชั่น   ธนาคารอินเดียน
โอเวอร์ซีส์ เป็นธนาคารพาณิชย์ต่างประเทศ

Scroll to Top